วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Mahidol University College of Music
-
2551
-
Weisses hündchen und Rosettenschwein
2008
เพลงนี้ได้แรงบันดาลใจมาจากความรู้สึกส่วนตัว เพราะไม่เคยรู้สึกว่าเวลานิ่งเลยแม้แต่น้อย และเชื่อว่าการนับเวลาในดนตรีก็เป็นความถี่แบบ หนึ่งเช่นกัน ซึ่งไม่ยากเย็นเลยที่จะเปลี่ยนไปตามอัตราส่วนที่พอเหมาะ จึงได้ประพันธ์ผลงานชิ้นนี้ขึ้นเพื่อแสดงให้เห็นถึงแนวความเชื่อของ ผู้ประพันธ์ โดยให้เสียงแต่ละแนวแทนสองขณะจิตที่สัมพันธ์กัน โดยสมมุติให้เป็นความสัมพันธ์ของสัตว์น่ารักๆ สองตัวที่เป็นเพื่อนกัน ที่ต้องห่าง กันไป
I believe that time is not absolute. It is different in different frames of reference including in nature and in our minds. Having learned that music does not always need to have a tonal center, I come to realize that the rate of succession of the basic time unit can be variable. In this composition, in addition to time variation, there is also a glide from one pitch to another. This is comparable to a frame rate in films, which runs a certain number of progressive frames per minute. When listening to this piece of music, listeners can visualize two sets of consecutive images with different frame rates running alternatingly.
ผู้ประพันธ์มีความเชื่อว่าเวลาไม่เท่ากันทุกขณะ ทั้งในธรรมชาติและในจิตใจของเรา เมื่อวันหนึ่งเราพบว่าในดนตรีไม่จําเป็นต้องมี Tonal center เราก็ไม่จําเป็นต้องมี Time ที่แน่นอนอีกต่อไป ทั้งนี้ทั้งนั้น ความสัมพันธ์ที่ใช้กับเวลาในดนตรีชิ้นนี้ถูกกําหนดให้เป็นเช่นเดียวกับระดับเสียง ด้วย เมื่อความสัมพันธ์ของระดับเสียงเป็นแบบเสียงหนึ่งกระทําต่อเสียงหนึ่ง ความสัมพันธ์ของเวลาก็เป็นเช่นนั้นด้วย คล้ายกับการกําหนด Frame rate ในภาพเคลื่อนไหวต่างกันไปตามอัตราส่วน ซึ่งผู้ฟังสามารถนึกถึงภาพเคลื่อนไหวสองชุดที่ Frame rate ไม่เท่ากันที่เปลี่ยนไปเรื่อย ๆ ตามอัตราส่วน แล้วผลัดกันเคลื่อนไหวตอบรับกันไปมา
I believe that time is not absolute. It is different in different frames of reference including in nature and in our minds. Having learned that music does not always need to have a tonal center, I come to realize that the rate of succession of the basic time unit can be variable. In this composition, in addition to time variation, there is also a glide from one pitch to another. This is comparable to a frame rate in films, which runs a certain number of progressive frames per minute. When listening to this piece of music, listeners can visualize two sets of consecutive images with different frame rates running alternatingly.